รักและการปฏิวัติ : การเมืองวัฒนธรรมว่าด้วยความรักของปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยยุคสงครามเย็น /

ในความรับรู้ของคนทั่วไป ผ่านภาษาพูดในชีวิตประจำวันและสื่ออื่น ๆ ที่ใช้สื่อสารถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึก ไม่ว่าจะเป็นเพลง/ดนตรี วรรณกรรม บทกวี จิตรกรรม-ประติมากรรม ฯลฯ “รัก” หรือความรักบ่งบอกอารมณ์ความรู้สึกที่ผูกพันระหว่างบุคคล หรือที่บุคคลหนึ่งมีต่ออีกบุคคลหนึ่ง ความรักเป็นเรื่องละเอียดอ่อนละเมียดละไม อ่อนหวานนุ่มนวล ส่วนใหญ่แล้ว รักให้ความรู้สึกอบอุ่นสงบเย็น ไม่ว่าจะเป็นความรักระหว่างคนสองคนในเชิงกามารมณ์หรือความรักของสมาชิกในครอบ-ครัว แม้ว่าในบางครั้งบางหนบางเวลา อาจจะมีความรักที่ “เร่าร้อน รุนแรง” อยู่ด้วยในทางตรงกันข้าม ในความคิดของผู้คนส่วนใหญ่ “การปฏิวัติ” ให้ความรู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลงที่ฉับพลันรุนแรง ถอนรากถอนโคน พลิกฟ้าคว่ำแผ่นดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการแย่งชิงเปลี่ยนแปลงผู้กุมอำนาจรัฐ การปฏิวัติให้ภาพการรบราฆ่าฟันประหัตประหาร ถึงขั้นเลือดนองปฐพี “รักและการปฏิวัติ” อย่างหนึ่งเย็นอีกอย่างหนึ่งร้อน สองอย่างที่ดูจะดำรงอยู่คู่ขนานกันและกันนี้ ในบริบทของประวัติศาสตร์ไทยช่วงต้น

รักและการปฏิวัติ : การเมืองวัฒนธรรมว่าด้วยความรักของปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยยุคสงครามเย็น /
by ธิกานต์ ศรีนารา Published 2564
Call Number: JC571 ธ579ร 2564
Located: MainLB, New Acquisition(2nd Fl)

http://opac.nu.ac.th/vufind/Record/1027254

Message us