Author: ดร.ศศิธร ติณะมาศ

สถิติและการนำเสนอข้อมูลแบบขั้นต้น

เอกสารประกอบการอบรม สถิติและการนำเสนอข้อมูลแบบขั้นต้น รุ่นที่ 1 สำหรับท่านที่สนใจเรียนรู้ด้วยตนเองนะคะ อบรมเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2565 เวลา 9.00-12.00 น. ที่ผ่านมา แต่เนื่องจากคลิปวิดีโอสงวนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้ดูย้อนหลังเท่านั้น หากสนใจเข้าอบรมด้วยตนเอง ที่ CITCOMS มีเปิดอบรมรุ่น 2 แล้วนะคะ เอกสารประกอบ ลิงก์ไปที่หลักสูตรอบรม https://training.nu.ac.th/

สุนทรียเสวนา Metaverse จุดเปลี่ยนของห้องสมุดยุคใหม่?

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดโดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อ วันอังคารที่ 1 มีนาคม 2565 เวลา 10.00 – 12.00 น. ผ่านโปรแกรม Zoom วิทยากรโดย นายอิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ Blognone และ Brand Inside Metaverse คือ โลกเสมือน (Virtual World) ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้คนได้เข้ามามีปฏิสัมพันธ์…

New Normal สู่ Next Normal

ห้องสมุดกับการก้าวผ่าน จาก New Normal สู่ Next Normal กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ของหอสมุดแห่งชาติ ที่จัดเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ผ่านทาง Zoom น่าเสียดายทางผู้จัดไม่ได้เผยแพร่คลิปสำเนาไว้ เลยเอามาเล่าเฉพาะเรื่องที่จำได้ และน่าสนใจสำหรับห้องสมุดนะคะ การบรรยายหัวข้อหนึ่งที่น่าสนใจคือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน และส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันในยุคชีวิตวิถีใหม่ โดย ดร. ชุติวัฒน์ สุวัตถิพงศ์ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช ซึ่งเชี่ยวชาญเรื่องเทคโนโลยีด้านการศึกษา ท่านได้บรรยายเรื่องเกี่ยวกับ Metaverse ที่กำลังเป็น Hot issue…

ความรู้เรื่อง Systematic Reviews

“วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 นี้ จะมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการบรรยายโดยวิทยากรจากสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 ท่าน คือ คุณชมพูนุช สราวุเดชา และคุณทิพวรรณ สุขรวย นะคะ” หัวข้อแรกเป็นเรื่อง “ประสบการณ์ในการสนับสนุนการผลิตผลงานวิชาการ และการทบทวนวรรณกรรมโดยใช้กระบวนการของ Systematic reviews “ และหัวข้อที่สองเป็นเรื่อง “ประสบการณ์ในการสนับสนุนการผลิตผลงานวิชาการ และแหล่งข้อมูล Open Access” สำหรับบทความนี้ ขอแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับ Systematic…

การใช้โปรแกรม Excel ในงานวิจัย

บทความนี้ เขียนไว้เป็นตัวช่วยสำหรับคนที่ต้องสรุปรายงานสถิติ หรือรายงานประเมินความพึงพอใจ แต่เบื่อกับโปรแกรม SPSS ของมหาวิทยาลัย ที่ลงแล้วใช้งานได้แค่แบบ Trial อาจใช้โปรแกรม Excel ช่วยคำนวณเล็กๆน้อยๆได้ อ้างอิงมาจากเว็บบล็อกของ ดร. รุจเรขา ลิงก์ตินฉบับอยู่ที่นี่นะคะ https://ruchareka.wordpress.com/2013/06/03/การใช้โปรแกรม-excel-ในงานวิจ/ โปรแกรมที่ใช้ในการวิเคราะหฺสถิติการวิจัย มีมากมายหลายตัว โปรแกรม SPSS นิยมใช้กันมาก แต่ถ้านำไปวิเคราะห์สถิติแล้วนำผลงานไปตีพิมพ์ จำเป็นต้องใช้ซอฟแวร์ที่มีลิขสิทธิ์ ปัจจุบันมีโปรแกรม opensource ตัวหนึ่งที่คล้ายๆกัน และตั้งชื่อเลียนแบบ SPSS โปรแกรมนั้นมีชื่อว่า PSPP…

แนะนำเครื่องมือช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์ผลงานระดับนานาชาติ

สำหรับบุคลากรที่ต้องให้บริการที่เคานเตอร์บริการยืม-คืน ช่วงทำการปกติ หรือช่วงล่วงเวลา บางทีอาจจะมีอาจารย์ หรือนิสิตปริญญาโท-เอก โทรมาสอบถาม เรื่องข้อมูลของวารสารที่ต้องการตีพิมพ์เผยแพร่ หลายท่านอาจจะไม่ทราบ จึงขอแนะนำคร่าวๆเป็นเบื้องต้นนะคะ ค่า Journal Impact Factor อันนี้เป็นค่าที่เป็นตัวเลข ที่คำนวณให้สำหรับวารสารที่จัดว่ามีคูณภาพ พูดง่ายๆคือ เป็นสถิติเฉลียของการที่บทความในวารสารถูกนำไปอ้างในรอบปีนั้นๆ ถ้ามีคนถามว่า ค่า Impact Factor ของวารสารเท่าไหร่ ของวารสารไทย จะใช้ค่าล่าสุดปี 2561 ซึ่งศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย หรือ TCI เป็นคนกำหนดนะคะ จะมีลิงก์อยู่ในเว็บไซต์นี้…