Category: เรื่องเล่าจากงานประจำ

เล่าเรื่องงานประจำของชาวสำนักหอสมุด

ทีมตรวจสอบวารสารหลอกลวง

สำหรับใช้สื่อสารในการปฏิบัติงาน ทั้งบริการสนับสนุนวิจัย และทีมตรวจสอบวารสารหลอกลวง คู่มือสำหรับผู้ปฏิบัติงานให้บริการสนับสนุนวิจัย แหล่งศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม OneDrive ช่องทางการสื่อสาร เพจทีมตรวจสอบวารสารหลอกลวง คลิปแนะนำความรู้ที่เกี่ยวข้อง

เก็บมาฝาก จากประชุมวิชาการชมรมบรรณารักษ์ฯ

“4 hearts for library : ใส่ใจ ได้ใจ เข้าใจ และรักษาใจ เพื่อพัฒนากระบวนทัศน์งานห้องสมุด” จากการประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๖๕ ชมรมบรรณารักษ์สถาบันอุดมศึกษา สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ วันจันทร์ที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๕ ณ ห้องประชุมชั้น ๗ สำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผ่าน Zoom Meetings คัดมาเฉพาะหัวข้อการบรรยายที่น่าสนใจนะคะ เอกสารประกอบการบรรยายสามารถดาวน์โหลดได้จากลิงก์ การบรรยายหัวข้อแรก น่าสนใจมาก…

การแปลงสารสนเทศโสตทัศนวัสดุห้องสมุด : เทปเสียงคลาสเซ็ท

คู่มือการแปลงม้วนเทปคลาสเซท ด้วยได้รับมอบหมาย จากผู้บริหารให้แปลงสารสนเทศโสตทัศนวัสดุห้องสมุด เป็นระบบดิจิตอล จากเทปเสียงคลาสเซ็ท ที่ยังให้บริการอยู่ในสำนักหอสมุด ซึ่งในปัจจุบัน ผู้ใช้น้อยคนที่จะมีเครื่องเล่นเทป เพื่อฟังเสียงได้จากตลับเทป และไม่สะดวก ในการติดตั้งอุปกรณ์ และกอปรกับ สำนักหอสมุดเรามีอุปกรณ์ในการดำเนินการ และเพื่ออำนวยความสะดวกในการได้ศึกษาจากสารสนเทศเทปเสียง จึงควรดำเนินการแปลงให้เป็นระบบดิจิตอล ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.เช็คตลับเทปเสียงจากไฟล์ที่งานเทคโนโลยีได้แปลงไว้แล้ว จากข้อมูลที่มีการสำรองไฟล์ไว้ เพื่อไม่ให้เกิดการแปลงซ้ำซ้อน 2..ทำความสะอาดม้วนเทปคาสเซ็ท เคาะเอาฝุ่นออก และล้างหัวเทป ลูกยางที่เครื่องเล่น ด้วยน้ำยาเฉพาะ 3.ใช้ด้ามปากกา หมุนเทปกรอไปมา เพื่อแก้ปัญหา เนื้อเทปแถบเสียงหลุด ขณะเล่นเครื่องเล่นในการแปลงสัญญาณเสียง4.ดำเนินการแปลงเสียงจากตลับเทปคาสเซ็ทในโปรแกรม Sound…

สร้างสื่อเรียนรู้รูปแบบ 3 มิติ ด้วย Spatial

Metaverse หรือ จักรวาลนฤมิต เป็นคำที่คุ้นหูมาพักหนึ่ง สำหรับเทคโนโลยีเสมือนในรูปแบบ 3 มิติ จริงๆ มันมีโปรแกรม หรือ Application หลายตัว ที่ช่วยในการสร้าง Collection ในรูปแบบใหม่ที่ดึงดูดใจ แต่ Spatial จะเป็นโปแกรมยอดฮิต ที่นักการศึกษา ครูอาจารย์นำไปใช้มากที่สุด บทความนี้เลยยกตัวอย่างให้เห็นในแบบคลิปวิดีโอ ที่เคลื่อนไหวได้มาให้เห็นบางส่วน พร้อมตัวอย่างที่อาจารย์และนศ มข.ทำไว้ หากใครสนใจ สามารถเอามาใช้ออกแบบสื่อสำหรับแนะนำในรูปแบบใหม่ได้นะคะ มันมีลักษณะคล้ายการนำเสนอแบบ Gallery 3 D…

รู้จักกับโปรแกรม Mendeley : เครื่องมือจัดการบรรณานุกรมอีกหนึ่งทางเลือก

Mendeley เป็น โปรแกรม Free ช่วยจัดการบรรณานุกรม ของสำนักพิมพ์ Elsevier ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งเครื่องมือช่วยเขียนบรรณานุกรมและรายการอ้างอิง และช่วยค้นหาบทความ รวมทั้งเป็นคลังเก็บข้อมูลสำหรับทำวิจัย ทำงานได้ทั้งผ่านโปรแกรมบน Desktop Mendeley Desktop หรือ Mendeley บน Web สำหรับใครที่สนใจเรียนรู้โปรแกรม Mendeley สามารถลองติดตั้งไว้ที่เครื่อง PC หรือโน็ตบุ้คได้ ตามเอกสารประกอบจากกิจกรรม Library Say Hi ได้เลยนะคะ ลิงก์สมัคร account…

เรื่องเล่า : เหตุติดเชื้อจากโรคโควิท-19 เอ็งมาได้อย่างไร เนี้ย 555

ด้วยความอยากพบลูกสาวทั้ง2 ที่ กทม ในเทศกาลช่วงวันหยุด หลายวัน คงเป็นเหมือนพ่อแม่ทุกคน ที่อยากกอด อยากหอมลูกสาว ไปแต่ละครั้งมีความรู้สึก ยังไม่ไม่หายคิดถึง เลยต้องกลับแล้ว และลูกสาว ก็ WFH มาตลอด ไม่ได้ ไปเที่ยวที่ใหน พี่ที่ทำงานของน้องฟิล์มลูกสาวคนโต ก็ชวนไปกางเต้นท์ ปิคนิค ช่วงวันหยุด เสาร์อาทิตย์ เค้าตั้งใจไปราชบุรี เตรียมทุกอย่างพร้อม ซื้อเต้นท์เอง อุปกรณ์ ที่นอนลม สรุปแล้ว ลูกไม่ได้ไป เพราะ…

เล่นสนุกกับข้อมูลด้วย Google Data Studio

สืบเนื่องจาก การอบรม การสร้าง Data Studio and Big Query กับการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ วันที่ 25 และ 26 เมษายน 2565 ผ่านระบบออนไลน์ด้วย MS Teams วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติพงษ์ สุวรรณราช ซึ่งจัดโดย กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (CITCOMS) Google Data Studio เป็น…

Personal Data Protection Act (PDPA) หรือ “พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล” กับเรื่องใกล้ตัวในยุคดิจิตอลในรูปแบบ Infographic

ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีส่งผลให้มีช่องทางการเข้าถึง หรือเก็บรวบรวม เปิดเผยข้อมูลส่วนลุคคลอันเป็นการละเมิดได้โดยง่าย ดังนั้นเราควรมาทำความรู้จักกับ สรุปสาระสำคัญ พ.ร.บ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ผ่านทางรูปแบบ Infographic สวยๆ เข้าใจง่ายกับภาษากฏหมาย พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 27 พ.ค. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และเริ่มใช้บางหมวด เริ่มบังคับใช้เต็มรูปแบบ 1 มิ.ย. 2565 ขอบเขตและข้อยกเว้น การใช้บังคับ พ.ร.บ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.…

หนังสือชำรุดซ่อมได้ให้น่าอ่าน สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร

สำหรับ blog นี้ ผมขอแนะนำอุปกรณ์และวิธีซ่อมหนังสือแบบง่ายๆ ดังนี้นะครับ อุปกรณ์การซ่อมหนังสือ 1.เครื่องอัดหนังสือให้เรียบ 2.อุปกรณ์การซ่อมขนาดเล็ก 3.เครื่องคอมพิวเตอร์พิมพ์สันหนังสือและทำปกหนังสือ 4.หนังสือซ่อมเตรียมติดปกหน้า 5.หนังสือซ่อมเสร็จแล้ว 6.หนังสือก่อนการซ่อม 7.ผ้าแร็กซีนหุ้มปกหนังสือ 8.กระดาษแข็งทำปกหนังสือ 9.สว่านแท่นเจาะรูหนังสือ 10.แม็กเย็บหนังสือ 11.ผ้าขาวหรือผ้าดิบเขียนป้าย 12.แผ่นยางรองตัด 13.กระดาษการ์ดขาว 14.ผ้าคิ้วหนังสือ 15.กาวลาเท็กซ์ TOA วิธีการซ่อมหนังสือ 1.ดึงปกหนังสือออกจากตัวเล่ม เจาะรูเย็บเชือกหนังสือ 4 รู ห่างจากสัน 1 ซม.…

สิ่งสำคัญที่สุด การจัดทำคลังเอกสารดิจิทัล มหาวิทยาลัยนเรศวร (รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์) NU Intellectual Repository

การขออนุญาตเผยแพร่ผลงาน